|
|
|
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง และมีภูเขาสลับซับซ้อน มีหมู่บ้านอยู่บนภูเขา จำนวน 2 หมู่บ้าน คือหมู่ที่ 5 บ้านนาคูหา และหมู่ที่ 6 บ้านนาแคม พื้นที่ภูเขาส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ อยู่ในเขตบริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติแม่แคม โดยเฉพาะทางด้านทิศตะวันออก มีป่าไม้สักหลงเหลืออยู่ และมีน้ำแคมไหลผ่านตำบลสวนเขื่อน ซึ่งประชาชนใช้น้ำในการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ |
|
|
|
|
 |
|
ตำบลสวนเขื่อน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพทางด้านการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรจากการทำนาไม่ผลผลิตต่ำ แต่มีศักยภาพในการปลูกพืชสวน เช่น ลางสาด ลองกอง ลำไย ในพื้นที่ราบปลูกมะม่วง มะขาม พื้นที่ราบสูงจะปลูกเมี่ยง พื้นไร่ส่วนมากปลูกถั่วลิสง, ถั่วเหลอง, ถั่วแขก |
|
|
 |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 2 แห่ง |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสวนเขื่อน หมู่ที่ 1 |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาคูหา หมู่ที่ 5 |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|
|
สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง |

 |
สำนักสงฆ์วัดป่าศรีถาวร |
หมู่ที่ 3 |
วัด จำนวน 6 แห่ง |

 |
วัดบ้านสวนเขื่อน |
หมู่ที่ 1 |

 |
วัดดงเหนือ |
หมุ่ที่ 4 |

 |
วัดนาคูหา |
หมู่ที่ 5 |

 |
วัดนาแคม |
หมู่ที่ 6 |

 |
วัดบ้านแม่แคม |
หมู่ที่ 7 |

 |
วัดดงใต้ |
หมู่ที่ 8 |
|
|
|
|
|
|
|
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 5 แห่ง |

 |
โรงเรียนบ้านสวนเขื่อน |
หมู่ที่ 1 |

 |
โรงเรียนบ้านทุ่งเหนือ |
หมู่ที่ 3 |

 |
โรงเรียนบ้านดง |
หมู่ที่ 4 |

 |
โรงเรียนบ้านนาคูหา |
หมู่ที่ 5 |

 |
โรงเรียนบ้านแม่แคม |
หมู่ที่ 7 |
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำปหมู่บ้าน จำนวน 10 แห่ง |
|
|
|
|
|
|

 |
ตำบลสวนเขื่อนมีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้าน แต่ยังขาดไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟกิ่ง) จำนวนมาก เป็นปัญหาสำคัญในการสัญจรไปมาในยามเวลากลางคืน ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนในเรื่องดังกล่าวมาก |

 |
ตำบลสวนเขื่อนมีจำนวนหลังคาเรือนที่ใช้ไฟฟ้า
จำนวน 1,372 ครัวเรือน |
|
|
|
|
 |
|

 |
ที่พักสายตรวจ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
 |
|

 |
ตำบลสวนเขื่อนมีการสร้างระบบผลิตน้ำประปาสำหรับ
อุปโภค - บริโภคทั้งหมด จำนวน 8 แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
การคมนาคม มีถนนสายหลัก จำนวน 2 แห่ง |
|

 |
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1101 ทุ่งโฮ้ง - ป่าแดง |
|

 |
ถนนสายสวนเขื่อน - แม่แคม หมายเลข 1024 |

 |
สภาพถนนส่วนใหญ่ยังเป็นลูกรังอยู่มาก สำหรับถนนคอนกรีต
ถนนลาดยางแอสฟัลต์ บางสายก็มีสภาพไม่สามารถใช้การได้ดีทำให้
ประชาชนเดือดร้อนในด้านการคมนาคมขนส่ง การติดต่อซื้อขายสินค้าทางการเกษตร |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |

 |
ลำน้ำ, ลำห้วย |
จำนวน |
4 |
แห่ง |
|

 |
ห้วยแม่แคม |
|
|
|
|

 |
ลำห้วยร่องฮ่างร่องหิน |
|
|
|
|

 |
ห้วยร่องน่าม |
|
|
|
|

 |
ลำห้วยเกว๋น |
|
|
|
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น |

 |
ฝาย |
จำนวน |
7 |
แห่ง |

 |
บ่อน้ำตื้น |
จำนวน |
540 |
แห่ง |

 |
บ่อโยก |
จำนวน |
60 |
แห่ง |

 |
สระน้ำ |
จำนวน |
15 |
แห่ง |

 |
ประปาหมู่บ้าน |
จำนวน |
5 |
แห่ง |
|
|
|
|
 |
|

 |
ที่ทำการโปรษณีย์โทรเลข ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
โทรศัพท์สาธารณะ |
จำนวน |
15 |
แห่ง |
|
|
|
 |
|

 |
การรวมกลุ่มของประชาชน |
จำนวน |
26 |
กลุ่ม |
|

 |
กลุ่มอาชีพ |
จำนวน |
12 |
กลุ่ม |
|

 |
กลุ่มออมทรัพย์ |
จำนวน |
10 |
กลุ่ม |
|

 |
กลุ่มอื่น ๆ |
จำนวน |
4 |
กลุ่ม |
|
|
|
|
|

 |
เครือข่ายชุมชนต้านยาเสพติด (ตำรวจบ้าน) |
จำนวน |
168 |
แห่ง |

 |
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) |
จำนวน |
100 |
แห่ง |

 |
ลูกเสือชาวบ้าน 2 รุ่น |
จำนวน |
200 |
แห่ง |

 |
กลุ่มออมทรัพย์ |
จำนวน |
1,000 |
แห่ง |

 |
กลุ่มสหกรณ์การเกษตร |
จำนวน |
500 |
แห่ง |

 |
อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) |
จำนวน |
160 |
แห่ง |

 |
กลุ่มสตรีแม่บ้าน |
จำนวน |
1,000 |
แห่ง |

 |
กลุ่มไม้ผลลางสาด ลองกอง |
จำนวน |
50 |
แห่ง |

 |
กลุ่มเกษตรผสมผสาน |
จำนวน |
30 |
แห่ง |

 |
ศุนย์ประสานงานองค์กรระดับตำบล |
จำนวน |
30 |
แห่ง |
|
|
|

 |
โรงแรม |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
โรงสี |
จำนวน |
8 |
แห่ง |
|
|